คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Faculty of Geo-Informatics Burapha University.

อิทธิพลของเอลนีโญที่มีผลต่อการแพร่กระจายของปริมาณฝน ในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งบริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทยThe Influence of El Nino on Rainfall Distribution during Wet and Dry Seasons in Eastern Thailand

ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน

Prin Lorpittayakorn(ปริญ หล่อพิทยากร)

คำสำคัญ

El Nino; Rainfall Distribution; Wet Seasons; Dry Seasons; Eastern of Thailandเอลนีโญ; การแพร่กระจายปริมาณฝน; ฤดูฝน; ฤดูแล้ง ภาคตะวันออกของประเทศไทย

วันที่เผยแพร่
2 มกราคม 2561
บทคัดย่อ
The aim of this research is to study the influence of El Nino on rainfall distribution during
wet and dry seasons in Eastern Thailand by using rainfall data in moderate periods during June
2003 - June 2004 and February 2013 - December 2013 and in El Nino periods during June 2002 -
March 2003, June 2009 - April 2010 and September 2014 - April 2016. During El Nino and moderate
periods, total rainfall data from May to October were used as data in wet season, and those from
November to December and from January to April were used as data in dry season. Stationary total
rainfall data in wet and dry seasons during moderate and El Nino periods were interpolated for
rainfall distribution over the entire study area by using Arc GIS 10.0 software. The rainfall distribution
during moderate period were classified into 5 classes (very low, low, median, high and very high
rainfalls) for wet and dry seasons based on standard deviation method. The difference between
rainfall during El Nino and moderate periods in wet and dry seasons were then investigated by using
overlay mapping technique and using statistical method (t-test) at 95 % confidence interval was
employed to assess the difference of rainfall distribution during wet and dry seasons in El Nino and
moderate periods. The results showed that in wet season, rainfall during El Nino period decreased
from moderate period at 0.05 significant level for all Eastern Thailand. On the other hand, in dry
season, rainfall during El Nino period decreased in Chanthaburi Province but increased in Sra Kaew,
Prachin Buri, Chachoengsao, Chonburi and Rayong Province at 0.05 significant level. Increasing
rainfall also occurred, but insignificant, in Trad Province during El Nino period. Thus, In Sra Kaew,
Prachinburi, Chachoengsao, Chonburi, Rayong and Trad province should storage water in dry season
for use in wet season of El Nino period and water diversion to Chanthaburi province in dry season
during El Nino period.การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของเอลนีโญที่มีผลต่อการแพร่กระจายปรมาณฝนในชวง
ฤดูฝนและฤดูแล้งบริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใชข้อมูลปริมาณฝนในชวงปีภาวะปกติ (มิถุนายน พ.ศ.
2546 - มิถุนายน พ.ศ. 2547 และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 - ธันวาคม พ.ศ. 2556) และข้อมูลปริมาณฝนในช่วงภาวะ
เอลนีโญ (มิถุนายน พ.ศ. 2545 - มีนาคม พ.ศ. 2546, มิถุนายน พ.ศ. 2552 - เมษายน พ.ศ. 2553 และกันยายน
พ.ศ. 2557 - เมษายน พ.ศ. 2559) ส าหรับข้อมูลปริมาณฝนรวมในฤดูฝนของปีภาวะเอลนีโญและภาวะปกติใช้ข้อมูล
เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม และข้อมูลปริมาณฝนรวมในฤดูแลงของปีภาวะเอลนีโญและภาวะปกติใชข้อมูลเดือน
พฤศจิกายนถึงธันวาคม และมกราคมถึงเมษายน น าข้อมูลปริมาณฝนรวมในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งในปีภาวะปกติและ
ปีภาวะเอลนีโญมาประมวลผลเพื่อประมาณค่าการแพร่กระจายปริมาณฝนทั่วพื้นที่ภาคตะวันออกโดยใชโปรแกรม
Arc GIS 10.0 ข้อมูลการแพร่กระจายของฝนในปีภาวะปกติจะถูกน ามาจ าแนกชนข้อมูลออกเป็น 5 ชน ของระดับ
ปริมาณฝนในชวงฤดูฝนและฤดูแล้ง (ปริมาณฝนระดับต่ ามาก ระดับต่ า ระดับปานกลาง ระดับสูง และระดับสูงมาก)
โดยใชค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานในการจ าแนก หลงจากนั้นวิเคราะห์ความแตกต่างของปริมาณฝนระหว่างปีภาวะ
เอลนีโญและปีภาวะปกติในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งด้วยเทคนิคการซ้อนทับภาพ (overlay) และศึกษาถึงความแตกต่าง
ของการแพร่กระจายปริมาณฝนชวงฤดูฝนและฤดูแลงในปีภาวะเอลนีโญกับปีภาวะปกติโดยใชสถิติ t-test ที่ระดับ
ความเชอมั่น 95 % ผลการศึกษาพบว่าปริมาณฝนในชวงฤดูฝนของปีภาวะเอลนีโญลดลงจากปีภาวะปกติทุกพื้นที่
บริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทยอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส าหรับในช่วงฤดูแล้งปริมาณฝนรวมใน
ปีภาวะเอลนีโญลดลงจากปีภาวะปกติในบริเวณจันทบุรีอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 แต่ปริมาณฝนรวม
เพิ่มขึ้นจากปีภาวะปกติในบริเวณสระแก้ว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 และตราดอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นในช่วงฤดูแล้งของปีภาวะเอลนีโญบริเวณพื้นทจังหวัด
สระแก้ว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และตราด ควรกักเก็บน้ าไว้ใช้ในชวงฤดูฝนของปีภาวะเอลนีโญรวมถึง
ในช่วงฤดูแล้งของภาวะเอลนีโญควรจะมีการผันน้ าบางส่วนในบางพื้นที่มาที่บริเวณจังหวัดจันทบุรี
ไฟล์เอกสารงานวิจัย
th