Faculty of Geo-Informatics Burapha University
Faculty of Geo-Informatics Burapha University.

Personnel

Home >> Introduce >> Personnel

รองศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ วงษ์แก้ว

ผู้รักษาการแทนคณบดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร สร้อยทอง

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

ดร.เทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ

รองคณบดีฝ่ายบริหาร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งอาทิตย์ บูชาอินทร์

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

ดร.ภาณุพงษ์ บรรเทาทุกข์

ประธานสาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร สร้อยทอง

คุณวุฒิ

วท.บ.(ภูมิศาสตร์)มศว. บางแสน

ผ.ม.(การวางผังเมืองและสิ่งแวดล้อม)สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Ph.D.(Urban Environment Management)สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

ความเชี่ยวชาญ

ภูมิศาสตร์เมือง ผังเมือง

งานวิจัย

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งอาทิตย์ บูชาอินทร์

คุณวุฒิ

  • วท.บ.(แผนที่และเทคโนโลยีภูมิศาสตร์)มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วท.ม.(เทคโนโลยีภูมิศาสตร์)มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) การพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
  • B.Sc(Geo-informatics) Burapha University
  • M.Sc(Geo-informatics) Burapha University
  • Doctor of Philosophy (Ph.D.) Organization Development and Human Capability Management

ความเชี่ยวชาญ

การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผนองค์กรธุรกิจ และและอุตสาหกรรม

Application of geo-informatics technology for business organization planning. And industry.

งานวิจัย

 

Journal
1. การประเมินศักยภาพทำเลที่เหมาะสมและศักยภาพทางการตลาดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกลุ่มแปรรูปอาหารทะเลและผลไม้ ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และจังหวัดจันทบุรี (EEC+1) (2564)
Assessment of the Potential of Suitable Location and Market Potential of Small and Medium Enterprises in Seafood and Fruit Processing in the Eastern Economic Corridor
and Chanthaburi Province (EEC+1). (2021)

2. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ในการเลือกใช้บริการโฮสเทล (Hostel) ในเขตกรุงเทพมหานคร (2564)
Factors Influence Foreign Tourist’s Decision to select a Hostel in Bangkok. (2021)

3. การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศประเมินเขตศักยภาพทำเลที่เหมาะสมของธุรกิจโรงแรมบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย (2563)
The Application of Geo-Informatics Technology to Assess the Potential Location of the Hotel Business on the Eastern Seaboard of Thailand. (2020)

4. การสร้างระบบกลุ่มเกษตรกรพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบกลุ่มภาคเหนือของประเทศไทยโดยประยุกต์หลักการพัฒนาองค์การและเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (2562)
Quality Improvement System of raw milk by mentor group in the Northern of Thailand Using Integration of Organization Development and Geoinformatics. (2019)

5. ผลกระทบของธุรกิจโรงแรม จากการผันแปรสภาพภูมิอากาศบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกของประเทศไทย โดยบูรณาการเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและแบบจำลองพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติ (2561)
The Impact of Climate Variability on Hotels Business in Eastern Coast of Thailand Using Integrating of Geo-informatics and Natural Disasters Model. (2018)

6. การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการวางแผนการเลือกทำเลที่ตั้งหมู่บ้านจัดสรร ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริเวณอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี (2561)
Application of Geoinformation Technology for Planning Site Selection of Housing in Real Estate in Amphoe Mueang Chon Buri, Chon Buri Province. (2018)

7. ปัจจัยที่ใช้ในการวางแผนองค์การธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ด้านการเลือกทำเลที่ตั้งหมู่บ้านจัดสรรยุคใหม่ (2559)
The Factors used in Real Estate Organization Planning for Site Selection of New Housing Projects. (2016)

Proceedings
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อลักษณะแผนที่สภาวะการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติบริเวณชายฝั่งตะวันออกกับกลยุทธ์การตลาดของโรงแรม (2565)
The Relationship Between Natural Disaster Mapping Media in The East Coast Area with Hotel Marketing Strategy. (2022)

2. การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อวางแผนพัฒนาที่ดินสำหรับหมู่บ้านจัดสรรในจังหวัดภูเก็ต (2563)
Application of Geo-information technology for housing estate planning in Phuket province. (2020)

3. เหมืองข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงพื้นที่และเวลาจากสื่อสังคมออนไลน์ (2563)
Spatio-Temporal Data Mining of Tourist Attractions from Social Media. (2020)

ประธานสาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์

ดร.ภาณุพงศ์ บรรเทาทุกข์

คุณวุฒิ

  • วท.บ. สาขาวิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วท.ม. สาขาวิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • B.Sc(Geography) Burapha University
  • M.Sc(Geography) Chiang Mai University

ความเชี่ยวชาญ

  • การใช้ที่ดิน
  • ภูมิศาสตร์การเกษตร
  • การสำรวจโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศ
  • Land use
  • Geography of Agricultural
  • Photogrammetry

งานวิจัย

  • รูปแบบการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรและระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน: กรณีศึกษาตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี
  • รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินในจังหวัดชลบุรี: กรณีศึกษา เทศบาลบ้านสวน
  • การอ่านแผนที่และแปลภาพถ่ายทางอากาศ
  • รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินในจังหวัดชลบุรี: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี เทศบาลเมืองบ้านสวนและเทศบาลตำบลบางทราย
  • Land use patterns for agriculture and oil palm production systems: a case study of Khlong Plu Sub-district Nong Yai District Chonburi province
  • Model and land price changes in Chonburi province: case study of Ban Suan Municipality
  • Reading maps and classification aerial photos
  • Model and land price changes in Chonburi Province: a case study of Chonburi Municipality Municipality, Ban Suan and Bang Sai Municipality

Lecturer research

ดร.ภูริต มีพร้อม

คุณวุฒิ

  • วท.บ.(ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วท.ม.(เทคโนโลยีภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา

 

  • B.Sc(Geography) Burapha University
  • M.Sc(Geo-informatics) Burapha University

 

ความเชี่ยวชาญ

  • การสำรวจภูมิประเทศ การสำรวจระยะไกลและการประยุกต์
  • Ground surveying
  • Global Navigation Satellite System (GNSS)

งานวิจัย

Lecturer research

อาจารย์ กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์

คุณวุฒิ

วท.บ.(เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ)มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม.(เทคโนโลยีภูมิศาสตร์)มหาวิทยาลัยบูรพา

ความเชี่ยวชาญ

อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง การสำรวจระยะไกล

งานวิจัย

2557    ชื่อโครงการ/งาน : โครงการ “การจัดการการปลูกพืชเศรษฐกิจในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก: จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด”

เจ้าของโครงการ/งาน (หน่วยงาน/ประเทศ) : สกว.

 

2556    ชื่อโครงการ/งาน : โครงการจัดทำแผนจำลองผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทย

เจ้าของโครงการ/งาน (หน่วยงาน/ประเทศ) : กรมการท่องเที่ยว

Lecturer research

อาจารย์ วุฒิชัย แก้วแหวน

คุณวุฒิ

วท.บ.(ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา

วท.ม.(เทคโนโลยีภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา

B.Sc(Geography) Burapha University

M.Sc.(Geography) Burapha University

ความเชี่ยวชาญ

ภูมิสารสนเทศศาสตร์

การทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

ระบบระบุพิกัดบนพื้นโลก (GNSS)

ระบบฐานข้อมูลทางภูมิสารสนเทศ (Geo-Database)

Geo-informatics

Tax mapping and property registration

Global Navigation Satellite System (GNSS)

Geo-Database

งานวิจัย

  • Landscape ecology and epidemiology of malaria associated with rubber plantations in Thailand: Integrated approaches to malaria ecotoping
  • Thailand momentum on policy and practice in local Legislation on dengue vector control
  • Malaria-associated rubber plantations in Thailand
  • โครงการจัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ จังหวัดชลบุรี
  • การประยุกต์ภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อวิเคราะห์พื้นที่การติดเชื้อมาลาเรียในอำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
  • การประยุกต์กล้องถ่ายภาพความร้อนเพื่อประมาณประชากรลิง บริเวณเขาสามมุข จังหวัดชลบุรี
  • การประยุกต์ภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อวิเคราะห์พื้นที่การกระจายการแพร่พันธุ์ของพาหะนำโรคไข้เลือดออกจากเขตเมืองสู่ชนบทในแต่ละช่วงเวลาและผลกระทบของการทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมระดับครัวเรือนต่อแหล่งเพาะพันธุ์ยุงพาหะไข้เลือดออกจังหวัดตราด
  • การประยุกต์ภูมิสารสนเทศศาสตร์กับเทคโนโลยี Internet of Things เพื่อพัฒนาระบบระบุตำแหน่งโดยใช้เทคโนโลยีรหัส Quick Response
  • โครงการจ้างที่ปรึกษาปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินในเขตเทศบาลตำบลท่าข้าม อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
  • โครงการจัดทำหรือปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน (แผนที่ภาษี) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบุญมี หมู่ที่ 5, 7, 10 รวม 3 หมู่บ้าน
  • โครงการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน ในเขตองค์การบริหารตำบลปลวกแดง อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประจำปี 2559
  • Landscape ecology and epidemiology of malaria associated with rubber plantations in Thailand: Integrated approaches to malaria ecotoping
  • Thailand momentum on policy and practice in local Legislation on dengue vector control
  • Malaria-associated rubber plantations in Thailand
  • Integrated Water Resources Management and Development Plan, Chonburi province
  • Application of geo-informatics to analyze malaria infection areas in Bo Rai district, Trat province
  • Application of thermal imaging cameras to estimate monkey population Khao Sammuk area, Chonburi province
  • Application of geo-informatics to analyze areas of distribution, propagation of dengue carriers from urban areas to rural areas in each period and the effect of household environmental cleaning on breeding sites of dengue mosquito vectors in Trat province.
  • Application of Geo-Informatics with Internet of Things technology to develop positioning systems using Quick Response code technology
  • Project to hire consultants to improve the efficiency of tax maps and property registration in Tha Kham Municipality, Bang Pakong District, Chachoengsao Province
  • Project to create or update the map data, tax and property registration (tax map) in Tha Bun Subdistrict Administrative Organization Area, there are 5, 7, 10 villages, including 3 villages.
  • Improvement project for increasing efficiency of tax maps and property registration In the administrative area of Pluak Daeng Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province, year 2016

Lecturer research

ดร.ปัทมา พอดี

คุณวุฒิ

ปริญญาเอก (วศ.ด. วิศวกรรมสำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาโท(วท.ม. เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์) ม.บูรพา

ปริญญาตรี (วท.บ. ภูมิศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์) ม.บูรพา

Ph.D. (Geomatic Engineering)

ความเชี่ยวชาญ

การสำรวจระยะไกลขั้นสูง การประยุกต์เทคโนโลยี SAR InSAR ด้านการจัดการภัยพิบัติ การประยุกต์เทคนิค InSAR ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลกAdvanced Remote sensing
SAR InSAR Applications
Disaster monitoring, Land deformation using InSAR Techniques.

งานวิจัย

Phodee P., I. Trisirisatayawong & A. Aobpaet, 2015, Co-seismic and Post-seismic Displacement of 2011 Mw 6.8 of Tarlay Earthquake, Myanmar using InSAR Techniques. Engineering Journal, 19(2), 157-168.

 

Phodee P. & A. Aobpaet, 2012, Preliminary Results of Post-Seismic Displacement of 2011 Mw 6.8 Tarlay Earthquake, Myanmar using Time-series InSAR Techniques. Proceedings of the 33rd Asian Conference on Remote Sensing, Pattaya, Thailand.

 

ปัทมา พอดี. (2557). การประเมินศักยภาพของเทคนิค Time-Series InSAR เพื่อศึกษาการ เคลื่อนตัวของรอยเลื่อนมีพลังขนาดเล็กในประเทศไทยและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต, คณะวิศวกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปัทมา พอดี, อิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์ และอนุเผ่า อบแพทย์. (2557). การตรวจวัดการเคลื่อนตัวของ เปลือกโลกหลังแผ่นดินไหว Tarlay ขนาด Mw 6.8 ปี 2011 ด้วยเทคนิค Time-Series InSAR. วารสารสมาคมสารวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศศาสตร์แห่งประเทศไทย, 15(1).

ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการ Geodetic Earth Observation Technologies for Thailand : Environmental Change Detection and Investigation – towards a Sea Offensive Next Generation (SONG) (ทุนจากสหภาพยุโรป) 2554-2556. http://www.sv.eng.chula.ac.th/GEO2TECDISONG/Index.html

Lecturer research

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญ หล่อพิทยากร

คุณวุฒิ

กศ.บ.(วิทยาศาสตร์-ฟิสิกส์)มหาวิทยาลัยบูรพา
วท.ม.(วิทยาศาสตร์ทางทะเล)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปร.ด.(วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์Ph.D. (Environmental Science)
M.Sc. (Physical Oceanography)
B.Ed. (Physics)

ความเชี่ยวชาญ

สมุทรศาสตร์ฟิสิกส์ ภูมิอากาศวิทยา และแบบจำลองคณิตศาสตร์

งานวิจัย

Lecturer research

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ พลีรักษ์

คุณวุฒิ

บธ.บ.(การตลาด) สถาบันราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยนเรศวร
Ph.D.(Geoinformatics), University of Salzburg, AustriaPh.D. (Geoinformatics)

ความเชี่ยวชาญ

การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศด้านการท่องเที่ยว ชุมชน สิ่งแวดล้อม และการเกษตรApplications of geoinformation technology in tourism, community, environment and agriculture

งานวิจัย

1. ณรงค์ พลีรักษ์ กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์ ภาสิรี ยงศิริ และพิชิตพร ผลเกิดดี. (2561). การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร,ในการวิเคราะห์การกระจายตัวของร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รอบมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี, 26(6), 931-942.
2. พรรณิภา อนุรักษากรกุล ณรงค์ พลีรักษ์ กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์ และภาสิรี ยงศิริ. (2559.) การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางการเงินในการลงทุนปลูกปาล์มน้ำมันในจังหวัดชลบุรี. MFU Connexion, 5(1), 108-145.
3. ณรงค์ พลีรักษ์. 2559. การประเมินความเหมาะสมเชิงพื้นที่ในการเพาะปลูกยางพาราของจังหวัดระยองด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ. วารสารเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา, 1(1), 27-35.
4. สุเมธ สายสมุทร ณรงค์ พลีรักษ์ สุพรรณ กาญจนสุธรรม และแก้ว นวลฉวี. 2559. การจัดการการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดจันทบุรีและตราด โดยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(1), 39-47.
5. โสภาวดี โชติกลาง ณรงค์ พลีรักษ์ แก้ว นวลฉวี และนฤมล อินทรวิเชียร. 2558. เว็บแมพเซอร์วิสสำหรับการท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก: ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 10(1), 54-64. แหล่งทุน-งบประมาณแผ่นดิน.
6. พิชณะ คงยั่งยืน ณรงค์ พลีรักษ์ สุพรรณ กาญจนสุธรรม และแก้ว นวลฉวี. 2559. การติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกยางพาราในจังหวัดจันทบุรี: หลักการการวิเคราะห์เชิงวัตถุภาพและแบบจำลอง CA-MARKOV. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 10(1), 96-107.
7. กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์ และณรงค์ พลีรักษ์. 2558. การติดตามพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันในจังหวัดชลบุรี. วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย (สสสท.), 16(1), 18-27.
8. ณรงค์ พลีรักษ์. 2557. การท่องเที่ยวชุมชนเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 9(2), 3-15.
9. ณรงค์ พลีรักษ์. 2556. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อจัดการการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 36(2), 235-248. 1. Pleerux, N., Imsawas, K, Yongsiri, P. and Pholgerddee, P. (2017). Density of Liquor Stores around Higher Education Institutes in Muang District, Chon Buri Province, Thailand. The 5th APSAAR‐TSAS 2017, May 31‐June 3, 2017, Taipei, Taiwan.
2. Anuruksakornkul, P. and Pleerux, N. (2017). Marketing Model for Creative Tourism Development in Eastern Areas of Thailand: Case Study Chanthaburi Province. International Conference for Business and Economics, June 20-23, 2017, Ca’ Foscari University, Venice, Italy.
3. Anuruksakornkul, P., Pleerux, N., Imsawas, K. and Yongsiri, P., Financial analysis of rubber production and changes of rubber planting areas in Eastern Thailand. The 40th Annual Conference of FAEA, November 20-21, 2015. Hanoi, Vietnam.
5. Pleerux, N., 2015. Risk Assessment of Agricultural Areas in Chon Buri, Thailand: A Composite Index on Sub-District Level. Journal for Geographic Information Science, 1(2015), 635-642.
6. Pleerux, N., 2013. Assessment of Agricultural Vulnerability Index: A case study in Thailand. The 34th Asian Association on Remote Sensing 2005 (ACRS2013), October 20-25, 2013. Bali, Indonesia.

Lecturer research

ดร.ภาสิรี ยงศิริ

คุณวุฒิ

  • ปริญญาตรี (วท.บ. วัสดุศาสตร์ เทคโนโลยีอัญมณี คณะวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ปริญญาโท (วท.ม. เทคโนโลยีภูมิศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยบูรพา
  • B.Sc(Materials science, gem technology) Burapha University
  • M.Sc(Geo-informatics) Burapha University

ความเชี่ยวชาญ

  • ภูมิศาสตร์กายภาพ
  • ภูมิศาสตร์เมือง
  • การสํารวจทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
  • Physical geography
  • Urban Geography
  • Resource and environmental survey
  • Geographic information system

งานวิจัย


1. ภาสิรี ยงศิริ, ภัทราพร สร้อยทอง, วิโรจน์ ละอองมณี และภาณุ อุทัยศรี. (2566). การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงการเกิดดินโคลนถล่มโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ร่วมกับข้อมูลปริมาณน้ำฝนรายวันสูงสุดในรอบ 30 ปี ในพื้นที่ภาคเหนือ. Journal of Roi Kaensarn Academi E-ISSN 2697-5033.


2. ณรงค์ พลีรักษ์ กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์ ภาสิรี ยงศิริ และพิชิตพร ผลเกิดดี. (2561). การใช้ระบบสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์การกระจายตัวของร้านจําหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รอบมหาวิทยาลัย บูรพา จังหวัดชลบุรี. (นักวิจัย)


3. กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์ และภาสิรี ยงศิริ. (2560). การพัฒนาต้นแบบระบบอ่านข้อมูลระยะใกล้เพื่อจัดทำเซนเซอร์เว็บสำหรับข้อมูลคุณภาพแหล่งน้ำในมหาวิทยาลัย. (นักวิจัย)
Development of a prototype of a remote data reading system for web sensor development for water quality data in Burapha University


4. ณรงค์ พลีรักษ์, กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์, พรรณิภา อนุรักษากรกุล และภาสิรี ยงศิริ. (2557). โครงการการจัดการ การปลูกพืชเศรษฐกิจในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก: จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด. (นักวิจัย) Economic crop management project in the eastern provinces: Chon Buri, Rayong, Chanthaburi and Trat.


5. ภัทราพร สร้อยทอง, กรรณิการ์ จันทร์ชิดฟ้า, สุชาติ ชายหาด และภาสิรี ยงศิริ. (2557). การตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและประเมินศักยภาพและขีดความสามารถรองรับคุณภาพน้ำผิวดินในพื้นที่ชุมชน เมือง      และ อุตสาหกรรมภาคตะวันออก. (นักวิจัย) Environmental quality examination and assessment of potential and capacity to support surface water quality in urban
and industrial areas in the eastern region.

6. วิโรจน์ ละอองมณี, ภาสิรี ยงศิริ และอานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. 2548. การพัฒนาระบบการจําลองการแพร่กระจายของคลอโรฟิลล์ในทะเลจีนใต้ โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือบนโปรแกรมตารางคํานวณ. รายงานการประชุมวิชาการการแผนที่และภูมิสารสนเทศแห่งชาติ พ.ศ.2548, กรุงเทพมหานคร. (ผู้ช่วยนักวิจัย) Development of the simulation system for the distribution of chlorophyll in the South China Sea By applying the tool on the calculation table program

7. Yongsiri, P., Soytong, P. 1 , Laongmanee, W. and Uthaisri, P. (2023). Development of a landslide risk area display system by using the geospatial technology with daily rainfall data via the internet network in the Northern region of Thailand. International Journal of Agricultural Technology 2023 Vol. 19(4)

Lecturer research

ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชิตพร ผลเกิดดี

คุณวุฒิ

ความเชี่ยวชาญ

งานวิจัย

Lecturer research

ดร.นฤมล อินทรวิเชียร

คุณวุฒิ

วท.บ.(ภูมิศาสตร์)มหาวิทยาลัยบูรพา
อ.ม.(ภูมิศาสตร์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วท.ด.(ภูมิสารสนเทศ)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ความเชี่ยวชาญ

การสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

งานวิจัย

ว่าที่ ร.อ. จิรเมธ จุลวิเชียร

jiramatech@buu.ac.th 2362

นางสาวมินทร์ลดา รัตนกุล

minlada@go.buu.ac.th 2363 ต่อ102

นางสาวธนิษตา ไทยเกิดศรี

tanista@buu.ac.th 2363 ต่อ 101

นางสาว สุพิชชา เสมอกิจ

supitcha@buu.ac.th 2363 ต่อ 104

นางสาววัลย์ลิดา ไข่มุกข์

wanlida@buu.ac.th 2363 ต่อ 105

ดร.สัมปตี สงวนพวก

sampatee@buu.ac.th 2379

นายดาวุฒิ กาลาเอส

dawut@buu.ac.th 2363 ต่อ 103

นายปรีชา บุญขาว

preechap@buu.ac.th 2363 ต่อ 101

นาย ชาญวิทย์ เร่งพัฒนพิบูล

chanwit@buu.ac.th 2363 ต่อ 106

นางนฤดี บุญถนอม

narudee@buu.ac.th 2363 ต่อ 107

นายพีรพันธ์ ด้วงเหม็น

peerapran@buu.ac.th 2363
en_US